เทียนฉาย กีระนันทน์. (2547 : 99). ได้กล่าวว่า การกำหนดงบประมาณค่าใช้จ่ายเพื่อการวิจัย ควรบ่างเป็นหมวดๆ ว่าแต่ละหมวดจะใช้งบประมาณเท่าใด การแบ่งหมวดค่าใช้จ่ายทำได้หลายวิธี ตัวอย่างหนึ่งของการแบ่งหมวด คือ แบ่งเป็น 8 หมวดใหญ่ๆ ได้แก่
1. เงินเดือนและค่าตอบแทนบุคลากร
2. ค่าใช้จ่ายสำหรับงานสนาม
3. ค่าใช้จ่ายสำนักงาน
4. ค่าครุภัณฑ์
5. ค่าประมวลผลข้อมูล
6. ค่าพิมพ์รายงาน
7. ค่าจัดประชุมวิชาการ เพื่อปรึกษาเรื่องการดำเนินงาน หรือเพื่อเสนอผลงานวิจัยเมื่อจบโครงการแล้ว
8. ค่าใช้จ่ายอื่นๆ
อย่างไรก็ตาม แหล่งทุนสนับสนุนการวิจัยแต่ละแห่งอาจกำหนดรายละเอียดของการเขียนงบประมาณแตกต่างกัน ผู้ที่จะขอทุนวิจัยจึงควรศึกษาวิธีการเขียนงบประมาณของแหล่งทุนที่ตนต้องการขอทุนสนับสนุน และควรทราบถึงยอดเงินงบประมาณสูงสุดต่อโครงการที่แหล่งทุนนั้นๆ จะให้การสนับสนุนด้วย เนื่องจากถ้าผู้วิจัยตั้งงบประมาณไว้สูงเกินไป โอกาสที่จะได้รับการสนับสนุนก็จะมีน้อยมาก
http://mbaru.blogspot.com/2010/01/blog-post_5112.html (2555) ได้รวบรวมไว้ว่า งบประมาณ คือ รายละเอียดของแผนการดำเนินงานในการจัดหาและใช้จ่ายเงินและทรัพยากรอื่น ๆ สำหรับชั่วระยะเวลาหนึ่ง งบประมาณเป็นแผนงานในอนาคตที่แสดงเป็นตัวเลข กิจการใช้งบประมาณเป็นเครื่องมือในการควบคุมการดำเนินงาน
http://blog.eduzones.com/jipatar/85921 (2555) ได้รวบรวมไว้ว่า การกำหนดงบประมาณค่าใช้จ่ายเพื่อการวิจัย ควรบ่างเป็นหมวดๆ ว่าแต่ละหมวดจะใช้งบประมาณเท่าใด การแบ่งหมวดค่าใช้จ่ายทำได้หลายวิธี ตัวอย่างหนึ่งของการแบ่งหมวด คือ แบ่งเป็น 8 หมวดใหญ่ๆ ได้แก่
1 เงินเดือนและค่าตอบแทนบุคลากร
2 ค่าใช้จ่ายสำหรับงานสนาม
3 ค่าใช้จ่ายสำนักงาน
4 ค่าครุภัณฑ์
5 ค่าประมวลผลข้อมูล
6 ค่าพิมพ์รายงาน
7 ค่าจัดประชุมวิชาการ เพื่อปรึกษาเรื่องการดำเนินงาน หรือเพื่อเสนอผลงานวิจัยเมื่อจบโครงการแล้ว
8 ค่าใช้จ่ายอื่นๆ
อย่างไรก็ตาม แหล่งทุนสนับสนุนการวิจัยแต่ละแห่งอาจกำหนดรายละเอียดของการเขียนงบประมาณแตกต่างกัน ผู้ที่จะขอทุนวิจัยจึงควรศึกษาวิธีการเขียนงบประมาณของแหล่งทุนที่ตนต้องการขอทุนสนับสนุน และควรทราบถึงยอดเงินงบประมาณสูงสุดต่อโครงการที่แหล่งทุนนั้นๆ จะให้การสนับสนุนด้วย เนื่องจากถ้าผู้วิจัยตั้งงบประมาณไว้สูงเกินไป โอกาสที่จะได้รับการสนับสนุนก็จะมีน้อยมาก
สรุป
การกำหนดงบประมาณค่าใช้จ่ายเพื่อการวิจัย ควรบ่างเป็นหมวดๆ ว่าแต่ละหมวดจะใช้งบประมาณเท่าใด การแบ่งหมวดค่าใช้จ่ายทำได้หลายวิธี ตัวอย่างหนึ่งของการแบ่งหมวด คือ แบ่งเป็น 8 หมวดใหญ่ๆ ได้แก่
1 เงินเดือนและค่าตอบแทนบุคลากร
2 ค่าใช้จ่ายสำหรับงานสนาม
3 ค่าใช้จ่ายสำนักงาน
4 ค่าครุภัณฑ์
5 ค่าประมวลผลข้อมูล
6 ค่าพิมพ์รายงาน
7 ค่าจัดประชุมวิชาการ เพื่อปรึกษาเรื่องการดำเนินงาน หรือเพื่อเสนอผลงานวิจัยเมื่อจบโครงการแล้ว
8 ค่าใช้จ่ายอื่นๆ
อ้างอิง
เทียนฉาย กีระนันทน์. (2547). สังคมศาสตร์วิจัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สืบค้นเมื่อ 3 ธันวาคม 2555.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น